The below is the press lease by Prachatai.com, the prominent and independent e-media in Thailand. The popular website has been blocked ever since 8 April 2010, a day after the government declared State of Emergency. Excerpts followed by full statement in English and Thai.
– penseur21 –
==========================
1) Prachatai has been blocked for 258 days (as of today, December 21 2010)
2) The amount of financial loss is estimated 5 million baht.
3) The SMS news service has to be stopped, as the SMS provider stopped the service.
4) Prachatai Social Network Channels such as www.facebook.com/prachatai were blocked
5) All three accounts belonged to Prachatai namely (@prachatai, @prachatai_en, @prachatai_wb) along with the YouTube channel (YouTube/user/prachatai) were blocked
6) Once the Decree is lifted in Bangkok and in the close by provinces it means that the blocking of tens of thousands of URLs is the blocking without any legal foundation to justify those blockings.
==========================
<Prachatai Statement>
22 December 2010, Prachatai Office
It had been 258 days that Prachatai.com website had been blocked under the order of the CRES. The order to block the website happened right after the declaration of the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situation (hereafter “Decree”). Prachatai.com, which has been opened since September 2004, was first blocked on 8 April 2010. The amount of financial loss, according to the figures that Prachatai has filed a charge against the government and CRES with the Court of Justice and is currently being investigated by the Court of Appeal, is at 5 million baht.
However, the figure above does not include the emotional and reputation loss and the business opportunity loss which can be divided into two parts. Firstly, the SMS news service that Prachatai had started not long ago could have been a good opportunity for news provider to provide the information to the public who are eager to receive information under the turbulent time. However, the SMS provider informed Prachatai that it would stop the service. The reason made was that there was an order that Prachatai.com was blocked by CRES. Secondly, few days prior to 8 April 2010, Prachatai only started to receive revenues from the advertisement. The blocking of the website definitely led to the insecurity and doubt among businesses that wanted to put its company’s Advertisements in Prachatai.

Ms.Chiranuch Premchaiporn, an editor of the independent website Prachatai in Thailand. While the website has been blocked by the authority, she was arrested at the airport on September 24 - on arrival from “Internet Liberty 2010″ conference in Hungary - under the Computer-related Crimes Act and Lese Majest law. Amnesty International, which deems to be reluctant to criticize the country's severe lese majeste law, has termed her as a prisoner of conscience while she was detained before being released on bail. (Photo @ Lee Yu Kyung)
Given that the cabinet decided to lift the Decree, Prachatai sees this action as being necessary to present the effects and financial losses from the order to block Prachatai website under the Decree, so that the government which is the actor in enforcing the law will operate according to the principle of legal justice rather than in an arbitrary manner. The latter is what was happening in the past eight years under CRES. The recent report which was released by iLaw.or.th, together with the Faculty of Law, Thammasat University, found that tens of thousands of URLs have been ordered to be blocked under the orders of CRES.
Once we analyze the details of the websites that were blocked, we found that in many cases the blockings were being done in a extremely broad manner. Websites that do not have contents related to politics such as news broadcast websites (i.e. www.justin.tv, www.ustream.tv) were subsequently blocked under the Decree. News website, which presents contents related to the May demonstration and the subsequent crackdown and dispersal by the state officials such as the journal by Nick Nostitz in the Killing Zone, the report by Spring News regarding the casualty from the friendly fire between the soldiers during the clash at Don Muang, the interview of witnesses at Wat Prathumwanaram, the report of Citizen Journalists who were in the demonstration and presented their stories on YouTube and Vimeo were all subsequently blocked.
If we analyze the contents of websites that were blocked, we can say that this is a serious act by the government to “close the mouths, ears, and eyes of the Thai people”.
Coming back to the experience of Prachatai in these past months, we were faced with continuous blockings. There were attempts in every way possible to block all the news channels of Prachatai. The Prachatai website had changed the name of the website eight times. The webboard had changed its name three times before Prachatai made the decision to shut it down on 31 July 2010. Apart from these examples, Prachatai Social Network Channels such as www.facebook.com/prachatai were blocked. All three accounts belonged to Prachatai namely (@prachatai, @prachatai_en, @prachatai_wb) along with the YouTube channel (YouTube/user/prachatai) were blocked. The attempts via the blocking of the website, IP address, and servers led to the reason for Prachatai to change its server, website registration, and all its online operation abroad to guarantee the possible accessibilities of our readers and to guarantee the safety of information that the users would not be able to be accessed or threatened by the government. Since our operation has been relocated abroad, this led to the unnecessary high costs and the unnecessary loss of money that could have been circulated inside the country to improve the business and to play a role in the progression of the news and technology industry. Such trends however are likely to be used by other news online and Thai Netizens as long as the situation of the threats to the online media and netizens will continue.
The important thing that the media needs to be concerned and stay focused to monitor the move of CRES to a new center under the directive of the ISOC using the power of the Internal Security Act rather than the Decree. Therefore, the irregularity of law which will have effect on the rights, liberties, and human security will continue. However, the framework of the power of the ISA does not give ISOC the power to block the dissemination of media information. Therefore, once the Decree is lifted in Bangkok and in the close by provinces it means that the blocking of tens of thousands of URLs is the blocking without any legal foundation to justify those blockings.
================================
<Statement in Thai>
258 วันของการพยายามปิดกั้นข่าวสารของเว็บไซต์ประชาไท
22 ธันวาคม 2553, สำนักงานประชาไท
258 วันที่เว็บไซต์ประชาไทดอทคอมถูกปิดกั้นโดยคำสั่ง ศอฉ. เกือบจะทันทีหลังจากที่มีประกาศใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยประชาไทดอทคอม [http://www.prachatai.com] ซึ่งเปิดมาตั้งแต่ กันยายน 2547 ได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงทั้งเว็บไซต์เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2553 หากประเมินมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 5 ล้านบาทตามการฟ้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งประชาไทได้ยื่นฟ้องรัฐบาลและศอฉ. ต่อศาลยุติธรรมและขณะนี้คดีอยู่ในการพิจารณาของศาลอุทธรณ์
อย่างไรก็ตามตัวเลขดังกล่าวยังไม่อาจนับรวมความเสียหายทางจิตใจ ชื่อเสียงและความสูญเสียโอกาสทางธุรกิจที่เกิดขึ้นซึ่งมีอย่างน้อย 2 ประการ ประการแรกบริการข่าว SMS ซึ่ง ประชาไทเริ่มเปิดบริการได้ไม่นาน และในห้วงเวลาของการที่สถานการณ์การเมืองที่ควรจะเป็นโอกาสอย่างยิ่งสำหรับ ผู้ประกอบกิจการด้านข่าวสารเนื่องจากประชาชนกำลังต้องการรับรู้ข่าวสาร ผู้ให้บริการ SMS ได้แจ้งขอยุติการให้บริการโดยอ้างเหตุแห่งการที่เว็บไซต์ประชาไทดอทคอมถูกคำสั่งปิดกั้นโดย ศอฉ. โอกาส ทางธุรกิจประการที่สองคือรายได้จากการโฆษณาเพราะเพียงไม่กี่วันก่อนหน้าที่ จะมีคำสั่งปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ ประชาไทเพิ่งประชาสัมพันธ์การขายพื้นที่โฆษณาบนเว็บไซต์ และเมื่อเว็บไซต์ถูกปิดกั้นดังกล่าว ย่อมก่อให้เกิดความไม่มั่นใจและความหวั่นกลัวสำหรับธุรกิจที่จะลงโฆษณาใน ประชาไท
ในโอกาสที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้ยกเลิกการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประชาไทเห็นว่าเป็นความจำเป็นที่จะต้องนำเสนอผลกระทบและมูลค่าความเสียหายอันเนื่องมาจากคำสั่งปิดกั้นสื่อภายใต้ พ.ร.ก.ฉุก เฉิน เพื่อให้รัฐบาลซึ่งเป็นผู้มีอำนาจในการบังคับใช้กฎหมายได้ดำเนินไปโดยหลัก แห่งความเป็นธรรมทางกฎหมายมากกว่าจะเป็นไปในลักษณะอำเภอใจ ดังที่เกิดขึ้นในห้วงเวลากว่า 8 เดือนภายใต้ ศอฉ. ซึ่งพบว่ามีเว็บไซต์หลายหมื่น URLs ดังรายงานของ iLaw.or.th ที่ ศึกษาร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ้างข้อมูลแหล่งข่าวผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับรายการคำสั่งให้ปิด กั้นการเข้าถึงเว็บไซต์
หาก พิจารณาลงไปในรายละเอียดของเว็บไซต์ที่ถูกปิดกั้นพบว่าในหลายกรณีเป็นการปิด กั้นในลักษณะครอบคลุมกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นการปิดกั้นทั้งเว็บไซต์ซึ่งหลายกรณีไม่ได้เป็นเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องกับการเมืองแต่อย่างใด เช่น เว็บไซต์ที่ให้บริการถ่ายทอดสด อาทิ www.justin.tv , www.ustream.tv , การ ปิดกั้นเนื้อหาที่นำเสนอรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในการชุมนุมรวมถึง ปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่รัฐในการปราบปรามและสลายการชุมนุม โดยการปิดกั้นรายงานของนักข่าวในสนามไม่ว่าจะเป็น บันทึกของ “นิค นอสติตซ์” เล่าเรื่อง “ในเขตสังหาร”, รายงานข่าวของ Spring News ในเหตุการณ์ที่พลทหารถูกยิงเสียชีวิตซึ่งคาดว่าจะมาจากการยิงพลาดของเพื่อนทหารด้วยกันเองในเหตุปะทะที่ดอนเมือง, สัมภาษณ์ พยานในเหตุการณ์วัดปทุมวนารามของประชาไท และรายงานของนักข่าวพลเมืองที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ซึ่งบันทึกวิดีโอเพื่อบอก เล่าเหตุการณ์ผ่าน เว็บไซต์ youtube และ vimeo
ดังนั้นหากพิจารณาจากลักษณะของเนื้อหาจำนวนหนึ่งที่ถูกปิดกั้นจึงกล่าวได้ว่า “เป็นการปิดปากเพื่อปิดหูปิดตาประชาชน”
สำหรับ ประสบการณ์ของประชาไทในการถูกปิดกั้นในครั้งนี้ ต้องเผชิญกับการปิดกั้นโดยต่อเนื่อง และมีความพยายามในการปิดกั้นทุกช่องทาง เว็บไซต์ข่าวประชาไทเปลี่ยนชื่อเว็บไปทั้งหมด 8 ครั้ง และเว็บบอร์ดประชาไทเปลี่ยนชื่อ 3 ครั้ง ก่อนที่ประชาไทจะตัดสินใจปิดเว็บบอร์ดไปเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีการปิดกั้นช่องทาง Social Networks ทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น Facebook/prachatai, ทวิตเตอร์ทั้ง 3 บัญชี @prachatai , @prachatai_en, @prachatai_wb ตลอดจนช่อง youtube ของประชาไท YouTube/user/prachataiความพยายามปิดกั้นกระทำทั้งโดยการปิดกั้นชื่อเว็บ, การปิดกั้น IP, การปิดกั้นที่เซิร์ฟเวอร์ เป็นเหตุให้ประชาไทต้องย้ายไปใช้บริการเซิร์ฟเวอร์, การ จดทะเบียนชื่อเว็บและอื่นๆเกือบทั้งหมดในต่างประเทศ เพื่อเป็นหลักประกันในการที่เว็บจะสามารถเข้าถึงได้ และเป็นหลักประกันเรื่องความปลอดภัยสำหรับข้อมูลของผู้ใช้งานที่จะไม่ถูก เข้าถึงและคุกคามโดยรัฐ ซึ่งการต้องอาศัยบริการในต่างประเทศก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าที่ควร และยังเป็นการสูญเสียรายได้ที่ควรจะหมุนเวียนอยู่ในประเทศเพื่อพัฒนาธุรกิจ/ความ ก้าวหน้าของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีข่าวสารก็ต้องรั่วไหลออกไปสู่ต่างประเทศ ซึ่งแนวโน้มในลักษณะดังกล่าวนี้จะยังคงมีอยู่ต่อไป ภายใต้สถานการณ์ที่ยังมีการปิดกั้นและคุกคามสื่อออนไลน์และพลเมืองเน็ต
สิ่งสำคัญที่สื่อสารมวลชนจะต้องตระหนักและร่วมกันเฝ้าตรวจสอบการแปลงโฉมจาก ศอฉ. มาเป็น ศตส. โดยอาศัยการบังคับใช้ พ.ร.บ.ความมั่นคงภายในฯ แทน พ.ร.ก.ฉุก เฉินฯ ดังนั้นอำนาจพิเศษตามกฎหมายซึ่งมีลักษณะพิเศษที่กระทบต่อสิทธิเสรีภาพและ ความมั่นคงของพลเมืองยังคงมีอยู่ อย่างไรก็ตามขอบเขตอำนาจของ พ.ร.บ.ความมั่นคงภายในฯไม่ได้มีอำนาจในการปิดกั้นสื่อ และเมื่อมีการยกเลิกการการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑลย่อมถือว่าการปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์หลายหมื่นยูอาร์แอล (URLs) จึงเป็นการปิดกั้นที่ไม่มีกฎหมายรองรับแต่อย่างใด
If you could mail me with a few suggestions on just how you made your website look this great, I would be grateful.